Skip to main content

    นี่คือเสียงจากชาวโรฮิงญา

    ถูกข่มเหงและกดทับ พวกเขาถูกบีบให้ปิดปากห้ามบอกเล่าเรื่องราว ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านสุขภาพ การประปา สุขอนามัย และการป้องกันในหลายพื้นที่ทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในค่ายค็อกซ์ บาซาร์ ประเทศบังกลาเทศ 

    มันเป็นเรื่องที่น่าเศร้าใจ ว่าความเจ็บปวดของการ 'ไร้รัฐ' มันไม่มีใครได้ยิน

     

    เวิ้งว้างกลางชลาสินธุ์

    "เวิ้งว้างกลางชลาสินธุ์ (Lost At Sea)" คือแอนิเมชั่นขนาดสั้นจากความร่วมมือขององค์การแพทย์ไร้พรมแดนและนูน ฟิลม์ (Noon Films) ตั้งอยู่ในเมืองบาเซโลน่า ประเทศสเปน เรื่องราวที่แสนสะเทือนอารมณ์ชิ้นนี้บอกเล่าเรื่องราวความเจ็บปวดที่ชาวโรฮิงญาต้องเผชิญระหว่างการเดินทางข้ามทะเลเพื่อแสวงหาพื้นที่ปลอดภัย 

     

    วิดีโอชิ้นนี้บอกเล่าเรื่องราวจากชีวิตจริงของมูฮิบ ชาวโรฮิงญาที่ลี้ภัยมาจากประเทศเมียนมา เขาตัดสินใจข้ามท้องทะเลแสนอันตรายไปยังประเทศมาเลเซีย หากระหว่างนั้นเขาและชาวโรฮิงญาคนอื่นต้องระหกระเหินอยู่กลางทะเลอันดามัน มีคนร่วมทางจำนวน 27 ชีวิตเสียชีวิตระหว่างทาง

    วิดีโอชิ้นนี้ได้รับรางวันาอย่าง the Best International Short Film จาก the Heroes International Film Festival ในกรุงโรม และ the 4th Chema Castiello Award สำหรับ the Best Short Film นอกจากนี้ยังได้เป็นส่วนหนึ่งของสื่อการสาอนสำหรับเด็กใน social Festival for Social Cinema and Human Rights (MUSOC) ประเทศออสเตรีย 

    บทความที่เกี่ยวข้อง

    บังกลาเทศ: ชาวโรฮิงญากำลังเผชิญกับการรักษาโรคตับอักเสบซีที่ไม่เพียงพอ
    บังกลาเทศ: ชาวโรฮิงญากำลังเผชิญกับการรักษาโรคตับอักเสบซีที่ไม่เพียงพอ
    การศึกษาขององค์การแพทย์ไร้พรมแดนระบุว่าเกือบ 20 เปอร์เซ็นต์ของผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาในคอกซ์ บาซาร์ ประเทศบังกลาเทศ ที่เข้ารับการวินิจฉัยโรคมีการติดเชื...
    บังกลาเทศ: จำนวนผู้บาดเจ็บจากสงครามในเมียนมาล้นทะลักเข้ามาในพื้นที่
    บังกลาเทศ: จำนวนผู้บาดเจ็บจากสงครามในเมียนมาล้นทะลักเข้ามาในพื้นที่
    เมืองธากา ประเทศบังกลาเทศ วันที่ 9 สิงหาคม 2567 – รายงานขององค์การแพทย์ไร้พรมแดน (Doctors Without Borders / Médecins Sans Frontières – MSF) องค์การด้า...
    เรายังอยู่: ชีวิตชาวโรฮิงญาในเมียนมา
    เรายังอยู่: ชีวิตชาวโรฮิงญาในเมียนมา
    ชาวโรฮิงญาเผชิญการข่มเหงมานานหลายทศวรรษ และสำหรับชาวโรฮิงญาวิกฤตด้านมนุษยธรรมครั้งนี้เลวร้ายลงกว่าเดิมเมื่อกองทัพเมียนมาเข้ายึดอำนาจในเดือนกุมภาพันธ์ ...
    โรฮิงญา: ยามผู้ลี้ภัยจำต้องการก่อร่างสร้างตัวตนอีกครั้ง
    โรฮิงญา: ยามผู้ลี้ภัยจำต้องการก่อร่างสร้างตัวตนอีกครั้ง
    ราวตีหนึ่งของวันที่ 7 มกราคม เกิดเหตุเพลิงไหม้ที่ค่ายพักอาศัยหมายเลข 5 ซึ่งเป็นหนึ่งในค่ายพักจำนวน 33 แห่งในเมืองคอกส์บาร์ซาร์ (Cox's Bazar) ประเทศบัง...
    บังกลาเทศ : อัตราการเกิดโรคไวรัสตับอักเสบซีที่น่าวิตกในค่ายผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา
    บังกลาเทศ : อัตราการเกิดโรคไวรัสตับอักเสบซีที่น่าวิตกในค่ายผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา
    โรคระบาดระดับภูมิภาค(Epidemic)กำลังแพร่ระบาดอย่างเงียบเชียบในค่ายผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาขนาดใหญ่ในเมืองค็อกซ์ บาซาร์(Cox's Bazar)ผลสำรวจเมื่อไม่นานนี้ของอ...
    เราเดินทางมาถึงบังกลาเทศในปี 2017 เรามาที่นี่เพราะมีการจับกุมและสังหารชาวโรฮิงญาในเมียนมา หมู่บ้านของเรากำลังลุกเป็นไฟ มีการทิ้งระเบิดจากเครื่องบิน เราเฝ้าดูสถานการณ์นี้เป็นเวลา 8 วัน โดยหวังว่าเหตุการณ์ต่างๆ จะดีขึ้น แต่กลับกลายเป็นยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม ทุกคนกลัวสุดชีวิตและทยอยหนีไปทุกที่ที่ทำได้
    ฮาชิมุลลาห์ ผู้ลี้ภัยในค็อกซ์ บาซาร์